<< กลับ

PHA62-346Pharmaceutical Care
การบริบาลทางเภสัชกรรม
สังกัดสำนักวิชาเภสัชศาสตร์
นก./นว.2 (2-0-4)
สถานะรายวิชา:ใช้งาน
เลือก ปีการศึกษา: 1 / 2567 

 -
ปริญญาตรี
กลุ่มวันเวลาห้องที่นั่ง(เปิด-ลง-เหลือ)  
  01 พุธ08:00-10:000320270646  
อาจารย์: อาจารย์อภิชญา ชนะวงศ์ **
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุริยน อุ่ยตระกูล
อาจารย์พิราวรรณ ขุนกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรกนก วัฒนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐณิชา พูลช่วย
อาจารย์ศุภัชชา อินทร์คำน้อย
อาจารย์ทิวาพร ทองสุทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันต์ฤทัย สังฆะโน **
อาจารย์ธีรภัทร์ มาแจ่ม
อาจารย์ณิชกานต์ อภิรมย์รักษ์
อาจารย์สิทธิพงค์ จงไกรจักร
อาจารย์ ดร.อังคณา ช่วยชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาวิตรี เหล่าไพบูลย์กุล
สำรองสำหรับ:เภสัชศาสตร์ ชั้นปี 4
สอบปลายภาค: 4 ต.ค. 2567 เวลา 09:00 - 12:00 ห้อง -Lec
  02 อังคาร13:00-15:000320270646  
อาจารย์: อาจารย์อภิชญา ชนะวงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรกนก วัฒนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐณิชา พูลช่วย
อาจารย์ศุภัชชา อินทร์คำน้อย
อาจารย์ทิวาพร ทองสุทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันต์ฤทัย สังฆะโน
อาจารย์พิราวรรณ ขุนกิจ
อาจารย์ณิชกานต์ อภิรมย์รักษ์
อาจารย์สิทธิพงค์ จงไกรจักร **
อาจารย์ ดร.อังคณา ช่วยชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาวิตรี เหล่าไพบูลย์กุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุริยน อุ่ยตระกูล
อาจารย์ธีรภัทร์ มาแจ่ม **
สำรองสำหรับ:เภสัชศาสตร์ ชั้นปี 4
สอบปลายภาค: 4 ต.ค. 2567 เวลา 09:00 - 12:00 ห้อง -Lec
Course Description
รายวิชานี้มุ่งเน้นให้ทราบและเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของเภสัชกรในการบริบาลทางเภสัชกรรม หลักการที่เกี่ยวข้องกับการบริบาลทางเภสัชกรรม การให้การบริบาลทางเภสัชกรรมอย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย การค้นหาปัญหาการใช้ยา การสืบค้นประวัติการใช้ยา การสืบค้นข้อมูลผู้ป่วยจากเวชระเบียน การติดตามประเมินความเหมาะสมในการใช้ยา ทักษะการแก้ไขปัญหาทางคลินิก การสื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์ การประเมินและติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
This course aims to know and understand roles and responsibilities of pharmacist in pharmaceutical care; principles of pharmaceutical care; systematic approach in pharmaceutical care based on patient safety, patient interviewing or medication history reviewing; searching data from patient chart; drug therapy monitoring; clinical decision making skill; communication with healthcare providers; adverse products reaction monitoring; and quality improvement in hospital pharmacy practices.
หมายเหตุ
เรียน  C = Lecture  L = Lab  O = Online  S = Self Study  X = Cancel
ผู้ประสานงานรายวิชา * = ผู้ประสานงานรายวิชา
รายวิชาบังคับ P = บังคับก่อน, C = เรียนร่วม, F = เคยลงทะเบียนแล้วได้เกรด A-F
ภาระการสอน = สอนบรรยาย, = สอนปฏิบัติการ